บล็อกนี้ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อ เป็นสื่อกลางแลกเปลี่ยน ของครูอบรมมาตรฐานวิชาชีพครูคุรุสภามาตรฐานที่ 8 รุ่นที่ 3 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม



วันเสาร์ที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2559

ธรรมะที่นำมาใช้ในการเรียน


ธรรมะที่นำมาใช้ในการเรียน


ธรรมะมาใช้กับการเรียนได้ มี คาถา อยู่สี่ข้อที่จำง่าย ๆ ซึ่งหลายคนอาจจะเคยเห็นแล้ว แต่สำหรับคนที่ไม่เคยทราบมาก่อน มีดังนี้ค่ะ:


มีอยู่สี่คำก็คือ สุ จิ ปุ ลิ

1.สุ หมายถึง สุตะ ได้แก่การฟัง การอ่านในเนื้อหาที่เรียน

2.จิ หมายถึง จิตตะ ได้แก่การพิจารณา เนื้อหาที่ฟังที่อ่านที่เรียนนั้น

3.ปุ หมายถึง ปุสสา ได้แก่การสอบถาม ในเนื้อหาที่ฟังที่อ่านที่เรียนที่ยังสงสัยอยู่ หรือให้เกิดความเข้าใจละเอียดขึ้น

4.ลิ หมายถึง ลิขิต ได้แก่การจดหรือเขียนเนื้อหาที่เข้าใจที่ผ่านการพิจารณาและสอบถามเก็บไว้ ง่ายต่อการทบทวน

สี่ข้อนี้ จำง่าย และ สามารถที่จะนำมาใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อให้ประสิทธิภาพในการเรียนนั้นดีขึ้น หากสังเกตุเพื่อน ๆ รอบ ๆ ห้องก็จะเห็นว่า ส่วนมากคนที่เรียนเก่ง ย่อมมีคุณสมบัติในการกระทำสี่ข้อข้างบนค่ะ


หลักธรรมแห่งความสำเร็จ (อิทธิบาท 4)
ฉันทะ คือ ต้องมีความรักความพอใจ ; รักเรียน
วิริยะ คือ ต้องมีความเพียร ; ขยันเรียน
จิตตะ คือ ต้องเอาใจใส่ ; ตั้งใจเรียน
วิมังสา คือ ใช้ปัญญาตรึกตรอง ; ฉลาดเรียน 

ที่มา http://www.dhammathai.org/dhammayouth/dbview.php?No=1

วันศุกร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2559

คาถาชินบัญชร หลวงปู่จาร

การทดสอบวิตามินซี

การทดสอบวิตามินซี 


         ทำได้โดยหยดสารละลายไอโอดีนลงในน้ำแป้งสุกจะได้สารผสมสีน้ำเงิน
จากนั้นนำสารที่สงสัยว่ามีวิตามินซีมาหยดในสารผสมดังกล่าว 
ถ้าสีน้ำเงินในสารผสมระหว่างน้ำแป้งสุกและสารละลายไอโอดีนจางหายไป แสดงว่าสารที่สงสัยมีวิตามินซี
ในกรณีนี้ถ้าใช้สารที่สงสัยจำนวนน้อยหยด แล้วสามารถทำให้สีน้ำเงินในน้ำแป้งจางหายไปหมด 

        แสดงว่าสารที่สงสัยมีปริมาณวิตมินซีมาก
       ซึ่งจะพบว่าในน้ำผลไม้ต่อไปนี้จะมีวิตามินซีเรียงจากน้อยไปหามาก ดังนี้ 
น้ำมะเขือเทศ > น้ำมะละกอสุก > น้ำส้ม > น้ำมะนาว > น้ำสับปะรด 
เราสามารถนำเอาวิธีนี้ไปทดสอบอาหารต่าง ๆ ที่ต้องการจะทราบว่ามีปริมาณวิตามินซีมากหรือน้อยเพียงใด ได้เช่นกันค่ะ 

Cr. http://www.vcharkarn.com/vcafe/39709

วันพุธที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2559

กองทุนการออมแห่งชาติ


ความเหลื่อมล้ำด้านสิทธิและโอกาส


ความเหลื่อมล้ำด้านทรัพยากร


เหลื่อมล้ำด้านเศรษฐกิจ



ความเหลื่อมล้ำของสังคม



ความเหลื่อมล้ำของชนชั้น


ต้นทุนชีวิตที่แตกต่าง


The Fall of Ayutthaya



จดหมายเหตุกรุงเสีย 


รู้ทันลิขสิทธิ์










วันเสาร์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2559